คน อ้ ว น พึงระวัง “นอนกรน” ภัยเงียบ ย า ม วิกาล

การนอนกรนเป็นสิ่งที่ทุกคนรู้จักเป็น อ ย่ างดี แต่มีน้อยรายที่จะรู้ว่า การนอนกรน อัน ต ร ายกว่าที่คิด

หากคุณหรือสามี ก ร น เสียงดังและกรนถี่ตลอดคืนระหว่างนอน โปรด อ ย่ า ชะล่าใจ เพราะเสียงกรนไม่ได้แค่สร้างความน่ารำคาญ แต่ความจริงแล้วนั่นเป็น สั ญ ญ า ณ เตือนปัญหาสุขภาพที่ไม่คาดคิด นําไปสู่การเกิด “ โ ร ค นอนกรน”

และหยุดหายใจขณะหลับ Obstructive Sleep Apnea (OSA) จน เ สี่ ย ง ต่อชีวิตได้

การนอนกรนจนเกิดภาวะอุดกั้นทางเดิน ห า ย ใจส่วนบน หรือมีภาวะหยุดหายใจร่วมด้วย เกิดขึ้นได้จาก ภาวะอุดกั้น ตีบแคบของทางเดินหายใจส่วนต้นที่หย่อนตัวขณะหลับ

ส่งผลให้หายใจลำบาก เกิดเสียงกรน และเมื่อเป็นมากจนทำให้ไม่สามารถหายใจเอาอากาศเข้าสู่ร่างกายได้ก็อาจเสีย ชี วิ ต ได้

9 อาการเตือน ภาวะหยุด ห า ย ใ จ ขณะนอนหลับ

1. นอน ก ร น เสียงดังมากจนได้ยินถึงนอกห้องเป็นประจำทุกวัน
2. เสียงกรนหยุดเป็นบางช่วง เพราะหยุดหายใจ สักพักตามมาด้วยเสียงหายใจ เ ฮื อ ก ใหญ่เพื่อหายใจเอาอากาศเข้าไปหลังหยุดหายใจ จนบางครั้งสะดุ้งตื่น

3. สำลักและ เ จ็ บ หน้าอกในตอนกลางคืน
4. ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน

5. หลังตื่นนอน รู้สึกไม่สดชื่น อ ย า ก นอนต่ออีกเพราะนอนไม่เต็มอิ่ม
6. ระหว่างวันจะง่วงนอนมากผิดปกติ จนอาจเผลอนอนหลับขณะทำงานหรือขับรถ

7. ป ว ด หัวหลังตื่นนอน หรืออาเจียน
8. เ จ็ บ คอ คอแห้ง เพราะหายใจทางปาก
9. สมาธิสั้น ความจำลดลง

นอกจากนี้ ยังมีผล ร้ า ย ข้างเคียงขณะนอนกรนและหยุดหายใจร่วมด้วย จากการนอนหลับไม่พอ อาทิ เครียด ซึมเศร้า สมองเสื่อม เ บ าหวาน หลอดเลือดสมอง ความ ดั น โลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ อั ม พฤกษ์ อั ม พาต

และภาวะเสื่อมสมรรถ ภ า พ ทางเพศในผู้ชาย ส่วนผู้หญิงประจำเดือนอาจจะมาไม่ปกติ เป็นต้น

9 สาเหตุหลักในชาย หญิง ส่งเสริมเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงและต้องพึงระวังเป็นพิเศษ คือ ผู้ที่เป็น โ ร ค อ้วน หรือกลุ่มคนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆ ดังนี้

1. โครงสร้างใบหน้าขากรรไกรเล็ก
2. ผู้ที่มีลิ้นใหญ่

3. ต่อม ท อ น ซิลโต
4. อายุที่มากขึ้นทำให้กล้ามเนื้อหย่อนตัวง่ายขึ้น

5. ผู้ที่เป็น โ ร ค ระบบประสาท โ ร ค ทางสมอง
6. ผู้ที่กิน ย า นอนหลับบางชนิด

7. สูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์
8. ผู้หญิงที่มีภาวะหมดประจำเดือน

การนอนกรนไม่ใช่เรื่องธรรมดา เพราะฉะนั้นอย่าชะล่าใจ หากคุณหรือคนที่คุณรัก กำลัง น อ น ก ร น แบบมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับร่วมด้วย ต้องรีบแก้ไขด่วน

อ ย่ า ง ไรก็ดี หากคุณไม่อยาก เ สี ย ชี วิ ต ขณะนอนหลับ เรามีวิธีป้องกันไม่ให้นอนกรน เพียงแค่ปรับการใช้ชีวิต โดยเริ่มแก้ที่ต้นเหตุ คือ ลดน้ำหนัก นอนหมอนสูง หรือนอนตะแคง

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ พักผ่อนให้เพียงพอ รวมถึงตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี เพื่อสุขภาพแข็งแรงใน ร ะ ย ะ ย า ว

ขอบคุณที่มาข้อมูล รพ.วิภาวดี, รพ.รามาธิบดี , ไทยรัฐออนไลน์

Facebook Comments