การ เ ลี้ ย ง กบง่ายๆในกระชังบก แบบประ ห ยั ด ต้นทุน

สำหรับกบที่เหมาะสมจะนำมาทำการเพาะเลี้ยงนี้ ได้แก่ กบนา ซึ่งถ้าเลี้ยง อ ย่ า ง ถูกต้องตามวิธีการ จะใช้เวลาเลี้ยงเพียง 4 – 5 เดือน

จะได้กบขนาด 4 – 5 ตัว/กิโลกรัม เป็นกบที่มีความเจริญเติบโตเร็ว โดยมีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหาร 3 : 4 กิโลกรัม ได้เนื้อกบ 1 กิโลกรัม

ทั้งยังเป็นกบที่มีผู้นิยมน้ำไปประกอบอาหารบริโภคกันมากกว่า พั น ธุ์ อื่น ๆ การสังเกตเพศ กบนาตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย และส่วนที่เห็นได้ชัดคือกบตัวผู้เมื่อจับ พลิกหงายขึ้นจะเห็นมีกล่องเสียงอยู่ใต้คางแถว ๆ มุมปากล่างทั้งสองข้าง

ในช่วงฤดูผสม พั น ธุ์ กบตัวผู้จะเป็นผู้ส่งเสียงร้อง และในขณะที่ร้องนั้นส่วนของกล่องเสียงจะพองโตและใส ส่วนตัวเมียนั้นจะมองไม่เห็น ส่ ว น ของกล่องเสียงดังกล่าว

กบตัวเมียจะร้องเช่นกันแต่เสียงออกเบาถ้าอยู่ในช่วงผสม พั น ธุ์ กบตัวเมียที่มิได้แก่ (ท้องแก่) จะ สังเกตเห็นส่วนของท้องบวมและใหญ่กว่าปกติ ขณะเดียวกันกบตัวผู้จะส่งเสียง ร้ อ ง บ่อยครั้งและสีของล้ำตัวเป็นสีเหลืองอ่อน

หรือมีสีเหลืองที่ใต้ขาเห็นชัดว่าตัวเมีย แต่ถึง อ ย่ า ง ไรก็ตามสีของกบจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัย

ข้อดีของการเลี้ยงปลากบในกระชังบก

ใช้พื้นที่เลี้ยงน้อย และสามารถเลี้ยงได้ทุกพื้นที่

การก่อสร้างบ่อเลี้ยงง่าย สะดวกและรวดเร็วใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น แต่ละรุ่นใช้เวลาเลี้ยงเพียง 90 – 120 วัน สามารถเลี้ยงและดูแล รั ก ษ า ได้สะดวก

การเลือกสถานที่สร้างบ่อเลี้ยงกบ

ควรเป็นที่ที่อยู่ใกล้บ้าน สะดวกต่อการดูแล รั ก ษ า และป้องกัน ศั ต รู ได้ เป็นที่สูง ที่ดอน เพื่อป้องกันน้ำท่วม

พื้นที่ราบเสมอ สะดวกต่อการวางกระชัง และขึงมุมทั้งสี่มุมของกระซังให้ตึง ใกล้แหล่งน้ำ เพื่อสะดวกในการถ่ายเทน้ำ ห่างจากถนน เพื่องป้องกันเสียงรบกวน กบจะได้พักผ่อนได้เต็มที่และโตเร็ว

วิธีการเลี้ยง

เมื่อได้รับกระชัง เ ลี้ ย ง กบแล้วควรนำไปล้างด้วยน้ำประมาณ 1 – 2 รอบ เพื่อเป็นการทำความสะอาด และลดกลิ่นพลาสติก
การวางกระชังต้องวางบนพื้นราบ และขึงมุมทั้งสี่มุมของกระชังให้ตึง

ควรเติมน้ำสะอาด หากเป็นน้ำประปา ควรเป็นน้ำประปาที่พักน้ำมาก่อนแล้ว เพื่อลด ฤ ท ธิ์ของคลอรีน ให้มีระดับความสูงของน้ำประมาณ 5 เซนติเมตร หรือระดับคอของกบ และควรใส่วัสดุที่ลอยน้ำได้ เช่น โพเม พืชน้ำจำพวก ผักตบขวา

เพื่อให้เป็นที่ยึดเกาะและที่หลบซ่อนตัวของกบได้
การปล่อยกบลงเลี้ยงในกระชังควร ป ล่ อ ย ในช่วงเช้าตรู่ หรือช่วงเย็นเนื่องจากอากาศไม่ร้อนเกินไป

การให้ อ า ห า ร

ควรให้อาหารกบสำเร็จรูปวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น ในปริมาณที่กบกินอิ่ม สังเกตโดยกบกินหมดภายในเวลา 20 นาทีโดยวันแรกที่ ป ล่ อ ย กบไม่ต้อง ให้อาหาร ควรปรับเพิ่มปริมาณอาหารทุก ๆ สัปดาห์ เพื่อให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของกบ ทั้งนี้ หากอาหารที่ไต้รับหมด สามารถหา ซื้ อ อาหารกบ เพิ่มเติมไต้ตามท้องตลาด

การเปลี่ยน ถ่ า ย น้ำควรเปลี่ยนถ่ายน้ำเมื่อสังเกตว่าน้ำใน ก ร ะ ชั ง มีความขุ่น มีกลิ่นเหม็น หรือเน่าเสีย หรืออาจเปลี่ยนน้ำทุกๆ 10 วันก็ได้ หรือตามความเหมาะสม

หมั่นสังเกตสภาพของกบหากกบเป็นแผล ท้องบวม เบื่ออาหาร หรือมีอาการผิดปกติ ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ของกรมประมงทันที่เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการป้องกัน รั ก ษ า โ ร ค

ผล ผ ลิ ต และการเจริญเติบโต

ปล่อยลูกกบอายุ 45 วัน จำนวน 700 ตัว ระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 2 – 3 เดือน จะมีขนาด 5 – 6 ตัว/กิโลกรัม อั ต ร า รอดร้อยละ 70 คิดเป็นกบประมาณ 490 ตัว จะได้ผล ผ ลิ ต ประมาณ 80 กิโลกรัม

หากคิดราคา ข า ย ที่ราคากิโลกรัมละ 50 บาท จะมีรายได้ประมาณ 4,000 บาท ทั้งนี้ขึ้นกับรา คาตลาด และปริมาณ ผลผลิตที่ได้จริง

เกร็ดความรู้

ปัญหา โ ร ค ของกบที่เกิดขึ้น มักเกิดจากความผิดพลาดของการเลี้ยงและการจัดการ โ ร ค ที่พบบ่อย ๆ ได้แก่

โ ร ค ท้องบวม สาเหตุเกิดจากการปล่อยลูกอ๊อดหนาแน่นเกินไป มีการให้อาหารปริมาณมาก ทำให้คุณภาพน้ำในบ่อเน่าเสีย ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ

โ ร ค แผลที่หัวและลำตัว บริเวณหัวและลำตัวของกบจะเป็นแผลเน่าเปื่อย สาเหตุเกิดจากสภาพบ่อสกปรกมาก ดังนั้นควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ
หากไม่ อ ย า ก ให้เกิด โ ร ค

ไม่ควรเลี้ยงกบหนาแน่นเกินไป หรือถ้าพบกบตัวใดมีอาการผิดปกติควรจับแยกออกเลี้ยงต่างหาก และควรดูแลเรื่องระบบน้ำในบ่อให้ดีอยู่เสมอ

ขอบคุณที่มา https://www.fisheries.go.th/

Facebook Comments