ไอเดียป ลู ก พืชแบบใหม่ แ ป ล กแต่ไล่แ ม ล ง

พืชผักเวลาปลูก เกษตรกรมักกังวลเรื่องแ มลงศัตรูพืช ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการดูแ ล วันนี้จึงนำวิธีการปลูกผักจากคุณ พ ง ษ์ พัฒน์ เกษตรกรรุ่นใหม่ จ.มหาสารคาม ที่พาปลูกพืชหมุนเวียนมาฝากกัน

โดยเริ่มจากแบ่งพื้นที่ป ลู ก ออกเป็นเป็นแปลงย่อยๆ ในแต่ละแปลงจะถูกแบ่งเป็น 7 แถว เพื่อปลูกพืช7 ชนิดสลับแถวกัน ได้แก่ หอมแบ่ง ผักโขมแดง ขึ้นฉ่าย ผักสลัด ผักบุ้ง กะเพรา โหระพา และ ผักอื่นๆตามแต่ฤดูกาล

สาเหตุที่ปลูกแบบนี้ เพราะว่าผักจะได้เวลาเก็บเ กี่ ย ว พร้อมกันทุกชนิด ไม่ต้องห่วงว่าจะมีผลผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งมากเกินไป จนทำให้เสียsาคา

การนำพืชผักมาลงปลูกใน 1 แถว จะทย อ ย ปลูกห่างกันแปลงละ 1 วัน ทำให้การปลูกพืช 7 ชนิด 7 แถวของแต่ละแปลง จะต้องป ลู ก ห่างกัน 1 สัปดาห์ โดยให้เริ่มจากพืชมีอ า ยุ เก็บเกี่ยวนานที่สุดก่อน เช่น

สัปดาห์ที่1ปลูกผักขึ้นฉ่ าย อายุเก็บเ กี่ยว 60 วัน

สัปดาห์ที่2ปลูกผักส ลั ด อายุเก็บเกี่ ยว 50 วัน

สัปดาห์ที่3 ปลูกห อ มแบ่ง อายุเก็บเ กี่ยว 45 วัน

สัปดาห์ที่4 ปลูกผักโ ข มแดง อายุเก็บเกี่ยว 35 วัน

สัปดาห์ที่ 5ปลูกผักบุ้ง อายุเก็บเกี่ยว 25 วัน

สัปดาห์ที่6 ลงพืชที่เก็บผลผ ลิ ตได้ในระยะครึ่งปี เช่น กะเพรา โหระพา

สัปดาห์ที่ 7ปลูกผักพื้นบ้าน เช่น สะระแหน่ พ ริ ก ผักเครื่องเคียงต่างๆ

เมื่อเก็บเกี่ยวพืชผัก แต่ละชนิดหมดแล้ว ให้พลิกดินกลบตอเดิมทำเป็นปุ๋ยอินท รี ย์ ทิ้งไว้ 3 วัน ให้เริ่มปลูกผักชนิดใหม่ทันที (ยกเว้นกะเพรา โหระพา เก็บได้จนถึงอายุครึ่งปี )

และ เมื่อเริ่มปลูกใหม่อ ย่ า ปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำที่เดิม ให้ปลูกชนิดอื่นสลับกันไป เพื่อป้องกันโ ร ค ต่างๆในผัก และ เป็นการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในหน้าดิน

คล้ายๆกับการปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกถั่วลิสงหลังทำนา เพื่อช่วยบำรุงดิน และ เพิ่มแร่ธ า ตุ ในดิน

เราปลูกพืชหลายชนิดสลับกันแบบนี้ พืชจะอิงอาศัยกัน พึ่งพากัน ไม่แย่งส ารอาหารตัวเดียวกัน ทำให้มีธ า ตุ อาหารหมุนเวียนอยู่ในดินครบถ้วน พอเก็บเกี่ยวผลผลิต เราสลับที่ปลูกอีก ดินก็ดีไม่เจอแต่ พื ช ซ้ำๆในที่เดิม

เพลี้ยอ่อนที่ชอบขึ้นฉ่าย โ ร ค ใบจุดที่จับจองผักสลัด ราแป้งในผักบุ้ง โคนเ น่ า ในหอม จะสับสน เพราะพืชแต่ละชนิดย้ าย ที่ปลูกไปเรื่อยๆ

สุดท้ายเลยแทบไม่มีโ ร ค หรือ แมลงรบกวน ทำให้ไม่ต้องพึ่งส า ร เ คมี ช่วยลดต้นทุนในการปลูก และ ปลอดส า ร เ คมีมากขึ้น

หากทำแบบนี้ได้ครบทุกแ ป ลง จะมีผลผลิตให้เก็บข า ยตลอดปี อีกทั้งยังประหยัด ลดต้นทุน ปลอดส า ร เคมีอีกด้วย ลองนำไปทำกันดูนะคะ

ขอบคุณที่มา https://www.fourfarm.com/

Facebook Comments