ทำ ห ลุ ม พอเพียง มีผัก กิ น ตลอด

หลุมพอเพียง เป็นการปลูกพืชรวมกันเป็นกลุ่มในลักษณะหลุมตื้นๆ ให้ต้นไม้แต่ละชนิดช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ขนาดของหลุมที่นิยมทำคือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร

เริ่มจากเตรียมพื้นที่ตามขนาดที่กำหนด แล้วก็ปลูกหญ้าแฝกเป็นรูปวงกลมหรือเป็นล็อกสี่เหลี่ยม จากนั้นปลูกไม้ในหลุมนี้ ลงได้ถึง 4 – 5 ประเภทในหลุมเดียว เพื่อลดภาระการรดน้ำ ปลูกซ้ำและเกื้อต่อการกำ จั ด ศั ต รู พืชเพราะให้ทุก อ ย่ า ง เกื้อกูลกันเอง

เทคนิคการทำหลุมพอเพียง

1.ขนาด ห ลุ ม พอเพียงควรมีขนาดกว้าง 80 – 100 ซม ลึกประมาณ 30 ซม ลักษณะเป็นวงกลมหรือสี่เหลี่ยม

2.ระยะห่างระหว่างหลุม 4 x 4 เมตร ถ้ามีพื้นที่ 1 ไร่ จะได้ 100 หลุม

3.ปลูกหญ้าแฝกล้อมรอบหลุม รากแฝกจะสาน เป็นร่างแหในแนวดิ่ง ช่วยยึดดินให้คงรูป เปรียบเสมือนกระถางธรรมชาติ ปลูกพืชทั้ง 4 ประเภท

พืชที่ปลูกตามแนวทางของ พ ร ะ อาจารย์ 1 หลุมพอเพียง ประกอบด้วยพืช 4 ประเภท

1.พื ช พี่เลี้ยง เป็นไม้ที่ให้ร่มเงา เก็บน้ำ เก็บความ ชื้ น โดยเฉพาะช่วงร้อนหรือหน้าแล้ง เช่น กล้วยน้ำว้า กล้วยหอม

ควรปลูกทางทิศตะวันตก เพราะช่วยบังแสงช่วงบ่ายที่อากาศร้อนจัด เป็นพี่เลี้ยงให้ พื ช ที่ไม่ชอบแดดจัดมาก ได้กล้วยเครือแรกเมื่อปลูก 1 ปี ก็ ตั ด ทิ้ง ปล่อย ห น่ อ ใหม่ให้ทำงาน

2.พื ช ยืนต้น ประกอบด้วย ขนุน มะม่วง มะนาว กระท้อน เงาะ ทุเรียน มังคุด ย า ง พารา เป็นต้น ในหลุมหนึ่งควรเลือกปลูกแค่ประเภทเดียว

2.พื ช ฉลาด เป็นไม้ข้ามปี ที่สามารถเอาตัวรอดได้ดี เก็บผลได้นานพอสมควร เช่น ชะอม ผักหวาน มะละกอ ผักติ้ว ผักเม็ก เริ่มเก็บกินได้ตั้งแต่ 1 เดือนไปเรื่อยๆ

3.พื ช ปัญญา อ่อน หรือ ไม้รายวัน เป็นไม้ล้มลุกปลูกง่าย ต้องคอยปลูกใหม่ ดูแลรดน้ำทุกวัน แต่เก็บผลได้เร็ว ได้ทุกวัน เช่น พริก มะเขือ กะเพรา โหระพา ตะไคร้ ข่า ฟักทอง แตงไทย แตงกวา ผักบุ้งจีน คะน้า เป็นต้น เริ่มเก็บกินได้ตั้งแต่ 15 วัน

การปลูก พื ช แบบหลุมพอเพียงนี้ สามารถให้ผลิตผลกับเราตั้งแต่ระยะสั้นถึงระยะ ย า ว อีกทั้งยังลดภาระการให้น้ำ และลดต้นทุนในการปลูกซ้ำ พื้นที่ช่องว่างในหลุมยังใช้ประโยชน์ปลูกพืชผักช่วยคลุมดินแทนที่จะปล่อยให้ วั ช พื ช ขึ้น เลย

หลุมพอเพียง ตาม ศ า ส ต ร์ พระราชา ร.9 สามารถช่วยเกษตรกรปลด ห นี้ ได้จริงไหม นำเสนอผ่านโดย พระมหาสุภาพ พุ ท ธ วิริโย เจ้าอาวาทวัดป่านาคำ พระนักพัฒนาที่ช่วย ป ล ด ห นี้ เปลี่ยนชีวิตเกษตรกร

ขอบคุณแหล่งที่มา https:// k a se tsanjorn.com/1834/CR: กศน.S m a r t ONIE Smart Farmer 4.0

Facebook Comments