วิ ธีกรวดน้ำที่ถูกต้อง กรวดถูกวิธีได้ผลบุญ ม ห า ศ า ล

การกรวดน้ำ ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายจากการทำบุญ เป็นการอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่เราได้ทำแล้ว ให้กับผู้ล่วงลับ เจ้า ก ร ร ม นายเวร เจ้าที่ภู มิ ต่างๆ

ซึ่งวันนี้เราจึงมีวิธีการกรวดน้ำที่ถูกต้อง และเกิดผลสูงสุดแก่ตัวท่านเองมาฝากกัน

การกรวดน้ำ คือ การตั้งใจอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่เราได้ทำไว้แล้วไปให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว พ ร้ อ ม ทั้งรินน้ำให้ ไ ห ล ลงไปที่พื้นดินหรือที่รองรับ

แล้วเอาไปเทที่พื้นดินอีกต่อหนึ่งหรือรดที่โคนต้นไม้ก็ได้ เพื่อให้จำง่ายไม่สับสน จึงขอแยกเป็นข้ อๆ ดังนี้

1. การอุทิศผลบุญมี 2 วิ ธี คือ

อุทิศเจาะจง ได้แก่ การออกชื่อผู้ที่เราจะให้ท่านรับ เช่น ชื่อพ่อ แม่ ลูก หรือใครก็ได้

อุทิศไม่เจาะจง ได้แก่ การ ก ล่ า ว รวมๆกันไป เช่น ญาติทั้งหลาย เจ้า ก ร ร ม นายเ ว ร และสรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นต้น

ทางที่ถูกควรทำทั้งสองวิ ธี คือผู้ที่มีคุณหรือมีเ ว รต่อ กัน มาก เราก็ควรอุทิศเจาะจง ที่เหลือก็อุทิศรวมๆ

2. การกรวดน้ำมี 2 วิ ธี คือ

ก ร ว ด น้ำเปียก คือ ใช้น้ำเป็นสื่อ รินน้ำลงไปพร้อมกับอุทิศผลบุญกุศลไปด้วย

กรวดน้ำแห้ง คือ ไม่ใช้น้ำ ใช้แต่สิบนิ้วพนม อ ธิ ษ ฐ า น แล้วอุทิศผลบุญกุศลไปให้

3. น้ำกรวด

ควรเป็นน้ำที่สะอาด ไม่มีสีและกลิ่น และเมื่อกรวดก็ควรรินลงในที่ ส ะ อ า ด และไปเทในที่สะอาด และที่สำคัญ อ ย่ า รินลงกระโถนหรือที่สกปรก

4. ควรรินน้ำตอนไหน

ควรเริ่มรินน้ำพร้อมกับตั้งใจอุทิศ ในขณะที่พระผู้นำเริ่ม ส ว ด ว่า ยะถาวาริวะหาปูรา และรินให้หมดเมือ่พระว่ามาถึง มะณิโชติระโส ยะถา พอพระทั้งหมดรับพร้อมกันว่า สัพพีติโย วิวัชชันตุ เราก็ พ น ม มือรับพรท่านไปจนจบ จึงจะถือว่าถูกต้อง

5. ควรกรวดน้ำตอนไหนดี

ควรกรวดน้ำทันทีในขณะที่พระอนุโมทนาหรือหลังทำบุญเสร็จ แต่ถ้าไม่สะดวกจะทำตอนหลังก็ได้ แต่ทำในขณะนั้นดีกว่า ด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ

ถ้ามีเปร ต ญ า ติ มารอรับส่วนบุญ ท่านก็ย่อมได้รับในทันที

การรอไปกรวดที่บ้านหรือ ก ร ว ด ภายหลัง บางครั้งก็อาจลืมไป ผู้ที่เขาตั้งใจรับก็อด ผู้ที่เราตั้งใจจะให้ก็ชวดไปด้วย

6. น้ำเป็นสื่อ ดินเป็น พ ย า น

การกรวดน้ำมิใช่จะอุทิศไปให้ผู้ต า ย กินน้ำ แต่ใช้น้ำเป็นสื่อและใช้แผ่นดินเป็น พ ย า น ให้รับรู้ในการอุทิศส่วนบุญ

7. อ ย่ าทำน้ำ ส ก ป ร ก ด้วยการเอานิ้วไปรอไว้

ควรรินให้ไหลเป็นสายไม่ขาดระยะ และไม่ควรใช้วิ ธี เกาะตัวกันเป็น ก ลุ่ ม หรือเป็นทางเหมือนเล่นงูกินหาง ถ้าเป็นในงานพิธีต่างๆ ให้เจ้าภาพหรือประธาน

รินน้ำกรวด เ พี ย ง คนเดียวหรือคู่เดียวก็พอ คนนอกนั้นก็พนมมือตั้งใจอุทิศไปให้

8. บุญเป็นของกายสิทธิ์

ยิ่งให้ยิ่งมาก ยิ่งตระหนี่ยิ่งน้อย ยิ่งอุทิศให้คนอื่นหมดเลยเราก็ยิ่งจะได้บุญหมดเลย

9. การทำบุญและอุทิศส่วนบุญ

ควรสำรวมจิตใจ อย่ าให้จิตฟุ้งซ่าน ปลูกศรัทธา ความเชื่อ และความเลื่อมใสให้มั่นคงในจิตใจ ผลของบุญและการอุทิศส่วนบุญย่อมมีอานิสงส์มาก

10. ถ้ายังว่าบทกรวดน้ำไม่เสร็จ จะทำ อ ย่ า ง ไร

ก็ควรใช้บทกรวดน้ำที่สั้นๆ หรือใช้บทกรวดน้ำย่อก็ได้ เช่น อิทัง โน ญาตีนังไหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขออุทิศส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ ออกชื่อผู้ล่วงลับ และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอญ าติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด

หรือจะใช้แต่ภาษาไทย อ ย่ า ง เดียวก็ได้ว่า ขออุทิศส่วนบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญแล้วนี้ จงสำเร็จแก่ พ่อ แม่ ญาติ ครูอาจารย์ ผู้มีพระคุณเจ้า ก ร ร ม นายเวร

และสรรพสั ต ว์ทั้งหลาย ขอจงได้รับส่วนบุญกุศลครั้งนี้โดยเร็วพลัน และโดยทั่วถึงกันเทอญ

ขอบคุณที่มา verrysmilejung

Facebook Comments